วันอาทิตย์ที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2559

นิทานเวตาลเรื่องที่10

เนื้อเรื่อง
          เวตาลกล่าวว่า ครั้งนี้ข้าพเจ้าเขม่นตาซ้ายหัวใจเต้นแรง แลตาก็มืดมัวเหมือนลางไม่ดีเสียแล้ว  แต่ข้าพเจ้าจะเล่าเรื่องจริงถวาย แลเหตุที่ข้าพเจ้าเบื่อหน่ายที่ต้องถูกแบกหามไปหามมา
           ในโบราณกาล มีเมืองที่ใหญ่เมืองหนึ่งชื่อ กรุงธรรมปุระ พระราชาทรงพระนามว่ อ่านเพิ่มเติม

วิเคราะห์ วิจารณ์

วิเคราะห์คุณค่าวรรณคดี
          คุณค่าด้านเนื้อหา

นิทานเวตาลมีความดีเด่นด้านเนื้อหา  คือ  ให้ข้อคิดและแฝงคติธรรม  รวมทั้งความรู้ต่าง ๆ ไว้ดังนี้
          ความอดทนอดกลั้น  เป็นคำสอนในทุกศาสนา  กล่าวถึง  "ขันติ"  คือ  ความอดทนอดกลั้นต่ออารมณ์ต่าง ๆ ไม่เป็นทาสอารมณ์  พระวิกรมาทิตย์เป็นปราชญ์ผู้เก่งกล้า  รอบรู้  และอยู่ในวรรณะกษัตริย์ที่สูงส่ง  ย่อมไม่ยอมให้ใครดูหมิ่นศักดิ์ศรีว่าโง่เขลา  ดังที่เวต อ่านเพิ่มเติม

ความรู้เพิ่มเติม

ความรู้เพิ่มเติม

     เวตาล เป็นอมนุษย์ที่มีลักษณะคล้ายค้างคาวผี ตามความเชื่อในนิทานปรัมปราของศาสนาฮินดู กล่าวกันว่า ในตอนกลางวัน เวตาลจะมีชีวิตอยู่ในซากศพของผู้อื่น และศพเหล่านี้จะถูกเวตาลใช้เป็นเครื่องมือในการเดินทาง หากเวตาลเข้าไปอาศัยร่างของศพใด  ซากศพนั้นก็จะไม่เน่าเหม็น ส่วนตอนกลางคืน เวตาลจะออกมาจากศพเพื่อออกหากิน  แต่หากค้นหาความหมายของคำว่า เวตาล ในพจนานุกรมฉบั อ่านเพิ่มเติม
อโศกอินเดีย
     อโศกอินเดีย หรือ อโศกเซนต์คาเบรียล (ชื่อวิทยาศาสตร์: Polyalthia longifolia) เป็นไม้ยืนต้นสูง ในวงศ์ Annonaceae มีลักษณะเป็นไม้ไม่ผลัดใบ ทรงพุ่มเป็นรูปปิรามิดแคบ ๆ สูงเต็มที่ได้ถึง 25 เมตร กิ่งโน้มลู่ลงทั้งต้น ทำให้แลดูต้นสูงชลูดมาก เปลือกต้นเกลี้ยงสีเทาเข้ม หรือเทาปนน้ำตาล ใบเดี่ยวรูปใบหอกแคบ ๆ ปลายแหลมยาว 15 - 20 เซนติเมตร สีเขี อ่านเพิ่มเติม

คำศัพท์ที่น่าสนใจ

คำศัพท์ 

กระเหม่น เขม่น               คือ              อาการที่กล้ามเนื้อกระตุกเบาๆ ขึ้นเอง ตามลัทธิโบราณถือว่า
                                                          เป็นนิมิตบอกเหตุร้ายหรือดี
โกรศ                                                 มาตราวัดความยาว เท่ากับ 500 คันธนู
เขื่อง                                                 ค่อนข้างใหญ่ ค่อนข้างโต
คุมกัน                                               รวมกลุ่มกัน
เครื่องประหลาด                                 สิ่งที่ทำให้คนประหลาดใจในความว่า ความสาวของพระนางเป็นเครื่องประหลาด
                                                          ของคนทั้งหลาย
จำเพาะ                                             เพียง เฉพาะ
ซื้อน้ำใจ                                            ผูกใจ ในความว่  อ่านเพิ่มเติม

ข้อคิด

      ข้อคิดที่ได้จากเรื่อง
                หากมนุษย์รู้จักใช้ปัญญาคิดไตร่ตรองอย่างถี่ถ้วยและรอบด้าน แม้ปัญหาจะยากเย็นซับซ้อน เพียงใดก็สามารถ   แก้ไขหรือทำความเข้าใจได้เสมอ  แต่การใช้ปัญญาเพียงอย่างเดียวมิอาจแก้ปัญหาทุกสิ่งได้เสมอไป  มนุษย์ต้องมีสติกำกับปัญญาของตนด้วยการใช้สติปัญญาควบคู่กันไป   คือหลักสำคัญในการนำมนุษย์ไปสู่ความสำเร็จ  อีกทั้งคำพูดขอ อ่านเพิ่มเติม

เรื่องย่อ

เรื่องย่อนิทานเวตาลเรื่องที่ 10 
     มีเมืองหนึ่ง ชื่อกรุงธรรมปุระ พระราชาทรงนามว่าท้าวมหาพล พระมเหสีเป็นผู้หญิงที่งามมาก แม้พระธิดาจะเป็นสาวที่งามมากแล้ว พระมเหสีก็งามไม่แพ้กัน ต่อมาเกิดศึกสงครามขึ้น ท้าวมหาพลสู้รบไม่ได้ จึงพาพระมเหสีและพระธิดาหนี รอนแรมไปถึงหมู่บ้านแห่งหนึ่ง ท้าวมหาพลให้หญิงทั้งสองซ่อนตัวในป่า พระองค์เองเสด็จไปในหมู่บ้านเพื่อหาอาหาร แต่หมู่บ้านนั้นเป็นหมู่บ้านโจรจับพระองค์ฆ่าเสียแล้วชิงเอาทรัพย์อันมีค่า มากมายไป หญิงทั้งสองเห็นด้วยคว  อ่านเพิ่มเติม

ประวัติผู้แต่ง

ประวัติผู้แต่ง
      กรมหมื่นพิทยาลงกรณเป็นพระโอรสในกรมพระราชวังบวรฯ  บวรวิไชยชาญกับจอมมารดาเลี่ยม  (เล็ก)  มีเจ้าพี่ร่วมจอมารดาเดียวกันพระองค์หนึ่ง  คือ  พระองค์เจ้าภัททาวดีศรีราชะดาซึ่งมีพระชันษาแก่กว่า    ปี

       กรมพระราชวังบวรฯ  พวรวิไชยาญ  เป็นพระราชโอรสพระองค์ใหญ่ในพ อ่านเพิ่มเติม

จุดมุ่งหมายในการแต่งนิทานเวตาล

จุดประสงค์
1. เพื่อให้นักเรียนเข้าใจเนื้อหาเรื่องนิทานเวตาล
2. เพื่อให้นักเรียนสามารถขอกข้อคิดที่ได้จากการอ่านได้
พระวิกรมาทิตย์หรือพระวิกรมเสน กษัตริย์ในตำนานของอินเดียโบราณ ได้รับปากกับโยคีชื่อ ศานติศีลจะไปนำตัวเวตาล อมนุษย์ที่มีลักษณะคล้ายศพมนุษย์ผสมค้างค อ่านเพิ่มเติม



ลักษณะคำประพันธ์

ลักษณะคำประพันธ์

           นิทานเวตาล แต่งเป็นร้อยแก้ว    โดยนำทำนองเขียนร้อยแก้วของฝรั่งมาปรับเข้ากับสำนวนไทยได้อย่างกลมกลืน และไม่ทำให้เสียอรรถรส แต่กลับทำให้ภาษาไทยมีชีวิตชีวา จึงได้รับยกย่องเป็นสำนวนร้อยแก้วที่ใหม่ที่สุ  อ่านเพิ่มเติม

ความเป็นมาของนิทานเวตาล

ความเป็นมา
      นิทานเวตาล ฉบับนิพนธ์ พระราชวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยาลงกรณ มีที่มาจากวรรณกรรมสันสกฤตของอินเดีย  โดยมีชื่อเดิมว่า “เวตาลปัญจวิงศติ” ศิวทาสได้แต่งไว้ในสมัยโบราณ

ต่อมาได้มีผู้นำนิทานเวตาลทั้งฉบับภาษาสันสกฤตและภาษาฮินดีมาแปลเป็นภาษาอังกฤษ โดยร้อยเอก เซอร์ ริชาร์ด เอฟ. เบอร์ตัน  ก็ได้นำมาแปลและเรียบเรียงแต่งแปล อ่านเพิ่มเติม